วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจาร์ยผู้สอน อาจาร์ยตฤณ เเจ่มถิ่น
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2557
ครั้งที่ 15 กลุ่มเรียน 103
เวลาเรียน 11.30 - 14.00 น. ห้อง 433
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น เเละบอกให้นักศึกษาทราบว่าระวังจะเข้าใจผิดระหว่างเด็กไฮเปอร์ กับเด็กสมาธิสั้น เพราะมีลักษณะคล้ายกัน และอาจารย์ได้อธิบายความรู้ต่างๆเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น ไว้ดังนี้
เด็กสมาธิสั้น
การดูแลและการส่งเสริมเด็กสมาธิสั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
-การใช้ยา
-การฝึกฝนการควบคุมตนเอง
-การปรับสภาพเเวดล้อม
1.การใช้ยา
-ยาที่ใช้ต้องมีความปลอดภัย
-สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิที่ดีขึ้น และควบคุมตนเองได้ดีขึ้น
-ส่งผลให้การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น
2.การปรับพฤติกรรมการควบคุมตนเอง
-ควรลงโทษให้ถูกวิธี
-ควรให้ความสนใจเมื่อเด็กทำตัวดี
-ควรจัดกิจกรรมประจำวันของเด็ก อย่างสม่ำเสมอตามเวลาที่กำหนดไว้
3.การปรับสภาพเเวดล้อม
- จะต้องไม่กระตุ้นเด็กมากเกินไป
- จะเก็บของเล่นต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก
- เวลาการทำงานควรจัดมุมที่สงบ
- ห้องเรียนต้องไม่กว้างเกินไป
การสื่อสารกับเด็กสมาธิสัั้น
-สังเกตจากความพร้อมหรือ การมีสามธิของเด็ก
-ควรมีภาษาท่าทาง เวลาคุยด้วยต้องจับมือ และสัมผัสตัวเด็ก
-ไม่ควรใช้คำพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจน
-ควรเข้าไปหาเด็กและใช้การกระทำร่วมด้วย
-ในกรณีที่มีกิจกรรมหลายอย่างให้เด็กทำ ควรบอกทีละอย่าง ให้เสร็จทีละอย่าง
-หากเด็กกำลังเหม่อลอย ไม่สนใจ ครูควรพูดคุยกับเด็ก
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น เเละบอกให้นักศึกษาทราบว่าระวังจะเข้าใจผิดระหว่างเด็กไฮเปอร์ กับเด็กสมาธิสั้น เพราะมีลักษณะคล้ายกัน และอาจารย์ได้อธิบายความรู้ต่างๆเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น ไว้ดังนี้
เด็กสมาธิสั้น
การดูแลและการส่งเสริมเด็กสมาธิสั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
-การใช้ยา
-การฝึกฝนการควบคุมตนเอง
-การปรับสภาพเเวดล้อม
1.การใช้ยา
-ยาที่ใช้ต้องมีความปลอดภัย
-สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิที่ดีขึ้น และควบคุมตนเองได้ดีขึ้น
-ส่งผลให้การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น
2.การปรับพฤติกรรมการควบคุมตนเอง
-ควรลงโทษให้ถูกวิธี
-ควรให้ความสนใจเมื่อเด็กทำตัวดี
-ควรจัดกิจกรรมประจำวันของเด็ก อย่างสม่ำเสมอตามเวลาที่กำหนดไว้
3.การปรับสภาพเเวดล้อม
- จะต้องไม่กระตุ้นเด็กมากเกินไป
- จะเก็บของเล่นต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก
- เวลาการทำงานควรจัดมุมที่สงบ
- ห้องเรียนต้องไม่กว้างเกินไป
การสื่อสารกับเด็กสมาธิสัั้น
-สังเกตจากความพร้อมหรือ การมีสามธิของเด็ก
-ควรมีภาษาท่าทาง เวลาคุยด้วยต้องจับมือ และสัมผัสตัวเด็ก
-ไม่ควรใช้คำพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจน
-ควรเข้าไปหาเด็กและใช้การกระทำร่วมด้วย
-ในกรณีที่มีกิจกรรมหลายอย่างให้เด็กทำ ควรบอกทีละอย่าง ให้เสร็จทีละอย่าง
-หากเด็กกำลังเหม่อลอย ไม่สนใจ ครูควรพูดคุยกับเด็ก
กิจกรรมบำบัด
1. Physical Exertion
2.Self Control ควบคุมตนเอง
3.Relaxation Training ผ่อนคลาย
โรงเรียนสำหรับเด็กสมาธิสั้น
-โรงเรียนที่เด็กสามารถเข้าเรียนปกติได้ เรียนร่วม
-สัดส่วนจำนวนเด็กต่อห้องเรียนที่เหมาะ
-มีพื้นที่สนามเด็กเล่น
-โรงเรียนที่ให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือ
บทบาทครู
-ครูให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอริยบทบ้าง
-ไม่ควรลงโทษเด็กรุนเเรง
-ควรสื่อสารกับเด็กให้ถูกต้อง
-ให้ความชื่นชม ให้ความสนใจ เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดี
-ที่นั่งของเด็กไม่ควรจัดให้ชิดหน้าต่าง
- ที่นั่งของเด็กไม่ควรชิดประตู
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือเด็ก
-สำนักบริหารการศึกษา
-โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
-ศูนย์การศึกษาพิเศษ
-โรงเรียนเฉพาะความพิการ
-สถาบันราชานุกูล
-มูลนิธิสถาบันเเสงสว่าง
ค้นคว้าเพิ่มเติมหลังการเรียนการสอน
ลักษณะเด็กสมาธิสั้น (ADHD)
อยู่ไม่นิ่ง ทำอะไรไม่ได้นาน
ทำอะไรไม่ได้นาน ครูต้องคอยกระตุ้นเด็กอยู่บ่อยๆ
ซุกซน
ประเมินรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้หนูเเต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจฟังอาจารย์สอน
แต่ก็ฟังไปเล่นไปเเต่ก็จดบันทึกความรู้ไว้ การเข้าเรียนก็ตรงต่อเวลา
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนๆไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียน จนทำให้อาจารย์มีการตำหนิเล็กน้อย เพื่อนบางคนนั่งหลับและพูดคุยกัน เเต่เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ตั้งใจสอน แต่เพื่อนไม่ตั้งใจฟัง หนูรู้นะอาจารย์นอย
เเต่อาจารย์น่ารัก เข้าสอนตรงเวลา แล้วปล่อยเร็วด้วยเพราะกลัวเด็กๆจะหิว อาจารย์เเต่งกายเรียบร้อย และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็กๆ