วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจาร์ยผู้สอน อาจาร์ยตฤณ เเจ่มถิ่น
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2557
ครั้งที่ 15 กลุ่มเรียน 103
เวลาเรียน 11.30 - 14.00 น. ห้อง 433
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น เเละบอกให้นักศึกษาทราบว่าระวังจะเข้าใจผิดระหว่างเด็กไฮเปอร์ กับเด็กสมาธิสั้น เพราะมีลักษณะคล้ายกัน และอาจารย์ได้อธิบายความรู้ต่างๆเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น ไว้ดังนี้
เด็กสมาธิสั้น
การดูแลและการส่งเสริมเด็กสมาธิสั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
-การใช้ยา
-การฝึกฝนการควบคุมตนเอง
-การปรับสภาพเเวดล้อม
1.การใช้ยา
-ยาที่ใช้ต้องมีความปลอดภัย
-สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิที่ดีขึ้น และควบคุมตนเองได้ดีขึ้น
-ส่งผลให้การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น
2.การปรับพฤติกรรมการควบคุมตนเอง
-ควรลงโทษให้ถูกวิธี
-ควรให้ความสนใจเมื่อเด็กทำตัวดี
-ควรจัดกิจกรรมประจำวันของเด็ก อย่างสม่ำเสมอตามเวลาที่กำหนดไว้
3.การปรับสภาพเเวดล้อม
- จะต้องไม่กระตุ้นเด็กมากเกินไป
- จะเก็บของเล่นต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก
- เวลาการทำงานควรจัดมุมที่สงบ
- ห้องเรียนต้องไม่กว้างเกินไป
การสื่อสารกับเด็กสมาธิสัั้น
-สังเกตจากความพร้อมหรือ การมีสามธิของเด็ก
-ควรมีภาษาท่าทาง เวลาคุยด้วยต้องจับมือ และสัมผัสตัวเด็ก
-ไม่ควรใช้คำพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจน
-ควรเข้าไปหาเด็กและใช้การกระทำร่วมด้วย
-ในกรณีที่มีกิจกรรมหลายอย่างให้เด็กทำ ควรบอกทีละอย่าง ให้เสร็จทีละอย่าง
-หากเด็กกำลังเหม่อลอย ไม่สนใจ ครูควรพูดคุยกับเด็ก
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ผู้สอนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น เเละบอกให้นักศึกษาทราบว่าระวังจะเข้าใจผิดระหว่างเด็กไฮเปอร์ กับเด็กสมาธิสั้น เพราะมีลักษณะคล้ายกัน และอาจารย์ได้อธิบายความรู้ต่างๆเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น ไว้ดังนี้
เด็กสมาธิสั้น
การดูแลและการส่งเสริมเด็กสมาธิสั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
-การใช้ยา
-การฝึกฝนการควบคุมตนเอง
-การปรับสภาพเเวดล้อม
1.การใช้ยา
-ยาที่ใช้ต้องมีความปลอดภัย
-สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิที่ดีขึ้น และควบคุมตนเองได้ดีขึ้น
-ส่งผลให้การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น
2.การปรับพฤติกรรมการควบคุมตนเอง
-ควรลงโทษให้ถูกวิธี
-ควรให้ความสนใจเมื่อเด็กทำตัวดี
-ควรจัดกิจกรรมประจำวันของเด็ก อย่างสม่ำเสมอตามเวลาที่กำหนดไว้
3.การปรับสภาพเเวดล้อม
- จะต้องไม่กระตุ้นเด็กมากเกินไป
- จะเก็บของเล่นต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก
- เวลาการทำงานควรจัดมุมที่สงบ
- ห้องเรียนต้องไม่กว้างเกินไป
การสื่อสารกับเด็กสมาธิสัั้น
-สังเกตจากความพร้อมหรือ การมีสามธิของเด็ก
-ควรมีภาษาท่าทาง เวลาคุยด้วยต้องจับมือ และสัมผัสตัวเด็ก
-ไม่ควรใช้คำพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจน
-ควรเข้าไปหาเด็กและใช้การกระทำร่วมด้วย
-ในกรณีที่มีกิจกรรมหลายอย่างให้เด็กทำ ควรบอกทีละอย่าง ให้เสร็จทีละอย่าง
-หากเด็กกำลังเหม่อลอย ไม่สนใจ ครูควรพูดคุยกับเด็ก
กิจกรรมบำบัด
1. Physical Exertion
2.Self Control ควบคุมตนเอง
3.Relaxation Training ผ่อนคลาย
โรงเรียนสำหรับเด็กสมาธิสั้น
-โรงเรียนที่เด็กสามารถเข้าเรียนปกติได้ เรียนร่วม
-สัดส่วนจำนวนเด็กต่อห้องเรียนที่เหมาะ
-มีพื้นที่สนามเด็กเล่น
-โรงเรียนที่ให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือ
บทบาทครู
-ครูให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอริยบทบ้าง
-ไม่ควรลงโทษเด็กรุนเเรง
-ควรสื่อสารกับเด็กให้ถูกต้อง
-ให้ความชื่นชม ให้ความสนใจ เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดี
-ที่นั่งของเด็กไม่ควรจัดให้ชิดหน้าต่าง
- ที่นั่งของเด็กไม่ควรชิดประตู
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือเด็ก
-สำนักบริหารการศึกษา
-โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
-ศูนย์การศึกษาพิเศษ
-โรงเรียนเฉพาะความพิการ
-สถาบันราชานุกูล
-มูลนิธิสถาบันเเสงสว่าง
ค้นคว้าเพิ่มเติมหลังการเรียนการสอน
ลักษณะเด็กสมาธิสั้น (ADHD)
อยู่ไม่นิ่ง ทำอะไรไม่ได้นาน
ทำอะไรไม่ได้นาน ครูต้องคอยกระตุ้นเด็กอยู่บ่อยๆ
ซุกซน
ประเมินรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้หนูเเต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจฟังอาจารย์สอน
แต่ก็ฟังไปเล่นไปเเต่ก็จดบันทึกความรู้ไว้ การเข้าเรียนก็ตรงต่อเวลา
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนๆไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียน จนทำให้อาจารย์มีการตำหนิเล็กน้อย เพื่อนบางคนนั่งหลับและพูดคุยกัน เเต่เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ตั้งใจสอน แต่เพื่อนไม่ตั้งใจฟัง หนูรู้นะอาจารย์นอย
เเต่อาจารย์น่ารัก เข้าสอนตรงเวลา แล้วปล่อยเร็วด้วยเพราะกลัวเด็กๆจะหิว อาจารย์เเต่งกายเรียบร้อย และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็กๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น