สัปดาห์ที่ 13
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจาร์ยผู้สอน อาจาร์ยตฤณ เเจ่มถิ่น
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2557
ครั้งที่ 13 กลุ่มเรียน 103
เวลาเรียน 11.30 - 14.00 น. ห้อง 433
สรุปความรู้ที่ได้รับรายสัปดาห์
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้ความรู้จากอันเซอชีท และเพาเวอร์พ้อยที่อาจารย์เตรียมมา มีทั้งรูปภาพมาประกอบการสอน อีกทั้งวีดีโอมาให้นักศึกษาได้ดูและเห็นจริง โดยในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษประเภทดาว์นซินโดรม การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษประเภทออทิสติก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กพัฒนาเต็มศักยภาพ จนสามารถช่วยตนเองได้
- ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เตรียมเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีความคิดแสดงออกอย่างถูกต้องและสามารถประกอบอาชีพได้
- เพื่อให้บิดามารดามีความรู้ และนำไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์แก่บุตร
- เพื่อให้บิดามารดามีสัมพันธภาพที่ดีต่อบุตร
เป้าหมายของการส่งเสริมพัฒนาการ
- เป้าหมายถั่วไป เพื่อให้เด็กมีทักษะที่จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเอง สามารถพึ่งตนเองและมีชีวิตอยู่ในสังคมได้
- เป้าหมายเฉพาะ เพื่อให้พัฒนาขึ้นตามขั้นตอนจากทักษะง่ายไปสู่ทักษะยากขึ้น และเเสดงปฎิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเเวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
ผลที่ได้รับจากการส่งเสริมพัฒนาการ
- เพื่อพัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น การอ่าน คณิตศาสตร์และภาษาดีขึ้น
- สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
- สังคมยอมรับมากขึ้น ไปเรียนร่วมหรือเรียนรวมได้
- ลดปัญหาพฤติกรรม ลดผลของความพิการ
- คุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถแก้ไขปัญหาและทำงานได้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์
เน้นการดูแล แบบองค์รวม ทุกคนต้องมีส่วนร่วม ทั้งเพื่อน ครู ผู้ปกครอง และเเพทย์
- เพื่อสามารถให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
- ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับบุคคลปกติมากที่สุด
- เน้นการดูแลแบบองค์รวม ( Holistic Approach )
แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.ด้านสุขภาอนามัย
- แนะนำบิดามารดาให้พาบุตรไปพบเเพทย์ตั้งเเต่เริ่มเเรก
- ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ เพื่อแพทย์จะได้ให้การรักษา และให้คำเเนะนำต่างๆ เช่น การให้คำเเนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์ การวางแผนครอบครัว ความเสี่ยงในการเกิดซ้ำของโรคในครอบครัวและการวินิจฉัยก่อนคลอด
2.การส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กกลุมอาการดาว์นซินโดรมสามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
- แนะนำบิดามารดา เรื่องความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการ วิธีการฝึกฝนบุตรที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อให้มีพัฒนาการใกล้เคียงกับเด็กทั่วไป
3.การดำรงชีวิตประจำวัน
- ฝึกให้ช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด เพื่อให้สามารถไปเรียนและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
- รู้จักควบคุมตนเอง มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
- ปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคมและสามารถใช้บริการต่างๆในสังคมได้
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยการจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล
( Individualized Education Program : IEP )
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน การจดทะเบียนรับรองความพิการ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
การปฎิบัติของบิดามารดา
- ยอมรับความจริง
- เด็กดาว์นซินโดรมมีพัฒนาการเป็นขั้นตอน เช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
- ให้ความรักและความอบอุ่น
- การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
- การคุมกำเนิดและการทำหมัน
- การสอนเพศศึกษา
- ตรวจโรคหัวใจ ลิ้นหัวใจรั่ว ตรวจตั้งเเต่คลอดจะดี
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทดาว์นซินโดรม
Autistic
แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.ส่งเสริมความเข้มเเข็งครอบครัว
- ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการช่วยเหลือดูแล
- ไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ของทุกคน
- เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับออทิสติก
- ทักษะต่้างๆของเด็กจะสั่งสมตามประสบการณ์
- ไม่ต้องกังวลว่าเด็กจะทำไม่ได้หรือทำได้ไม่ดี
- ค่อยๆพัฒนาวิธีการตามคำชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมความสามารถเด็ก
- ไม่มุ่งแก้ไขเฉพาะความบกพร่องเพียงด้านเดียว
- มุ่งส่งเสริมความสามารถที่เด็กมีควบคู่ไปด้วย
- เปิดโอกาสให้เด็กได้ทำบ่อยๆ แล้วสอนเพิ่มในเรื่องที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่ตนเองทำได้
- เสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย
- ได้ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
- ของเล่นเปลี่ยนบ่อยๆ
3.พฤติกรรมบำบัด
- ส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมให้คงอยู่ต่อไป
- หยุดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
- สร้างพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการ
- ช่วยเสริมสร้างทักษะด้านภาษา ด้านสังคม และทักษะอื่นๆ
- ใช้พื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้
- การให้เเรงเสริม
4.การส่งเสริมพัฒนาการ
- ยึดหลักและลำดับขั้นพัฒนาการของเด็กปกติ
- ควรทำตั้งเเต่อายุน้อย โดยต้องทำอย่างเข้มข้น สม่ำเสมอ และต่อเนื่องในระยะเวลาที่นานพอ
- เหมาะสมตามสภาพปัญหา ความสามารถ และความเร็วในการเรียนรู้ของเเต่ละคนที่มีความเเตกต่างกัน
- เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา การมีสมาธิ การฟัง และทำตามคำสั่ง
5.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
- การแก้ไขการพูด
- การสื่อความหมายทดแทน
- กิจกรรมบำบัด
6.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
- เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด
- เกิดผลดีในระยะยาว
- เน้นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เด็กสามารถใช้ในชีวิตประจำวันจริงๆแทนการฝึกทักษะทางวิชาการ
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
- โรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะทาง โรงเรียนเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน
7.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
- การฝึกฝนทักษะในชีวิตประจำวัน
- การฝึกฝนทักษะทางสังคม
- การสอนเรื่องราวทางสังคม
8.การรักษาด้วยยา
- เพื่อบรรเทาอาการบางอย่างที่เกิดขึ้นด้วย
- เด็กไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยยาทุกคน
- ในปัจจุบันยังไม่พบว่ามียาตัวใดที่ช่วยแก้ไขความบกพร่องด้านการสื่อสารและสังคม
- เพื่อลดพฤติกรรมไม่มีสมาธิ อยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันเเล่น
9.การบำบัดทางเลือก
- การสื่อความหมายทดแทน ( AAC )
- ศิลปกรรมบำบัด (Art Therapy )
- ดนตรีบำบัด ( Music Therapy )
- การฝังเข็ม ( Acupuncture )
- การบำบัดด้วยสัตว์ ( Animal Therapy )
การสื่อความหมายทดแทน
- การรับรู้ผ่านการมอง
- โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร
- เครื่องโอภา
- โปรแกรมปราศรัย
10.บทบาทความคิดของพ่อแม่
- ลูกต้องพัฒนาได้
- เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
- ถ้าเราไม่รัก แล้วใครจะรัก
- หยุดไม่ได้
- ดูแลจิตใจร่างกายตนเองให้เข้มเเข็ง
- ไม่กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส
- ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทออทิสติก
ประเมินผลการเรียนรายสัปดาห์
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจาร์ยผู้สอน อาจาร์ยตฤณ เเจ่มถิ่น
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2557
ครั้งที่ 13 กลุ่มเรียน 103
เวลาเรียน 11.30 - 14.00 น. ห้อง 433
สรุปความรู้ที่ได้รับรายสัปดาห์
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้ความรู้จากอันเซอชีท และเพาเวอร์พ้อยที่อาจารย์เตรียมมา มีทั้งรูปภาพมาประกอบการสอน อีกทั้งวีดีโอมาให้นักศึกษาได้ดูและเห็นจริง โดยในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษประเภทดาว์นซินโดรม การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษประเภทออทิสติก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กพัฒนาเต็มศักยภาพ จนสามารถช่วยตนเองได้
- ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เตรียมเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีความคิดแสดงออกอย่างถูกต้องและสามารถประกอบอาชีพได้
- เพื่อให้บิดามารดามีความรู้ และนำไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์แก่บุตร
- เพื่อให้บิดามารดามีสัมพันธภาพที่ดีต่อบุตร
เป้าหมายของการส่งเสริมพัฒนาการ
- เป้าหมายถั่วไป เพื่อให้เด็กมีทักษะที่จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ ตนเอง สามารถพึ่งตนเองและมีชีวิตอยู่ในสังคมได้
- เป้าหมายเฉพาะ เพื่อให้พัฒนาขึ้นตามขั้นตอนจากทักษะง่ายไปสู่ทักษะยากขึ้น และเเสดงปฎิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเเวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
ผลที่ได้รับจากการส่งเสริมพัฒนาการ
- เพื่อพัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น การอ่าน คณิตศาสตร์และภาษาดีขึ้น
- สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
- สังคมยอมรับมากขึ้น ไปเรียนร่วมหรือเรียนรวมได้
- ลดปัญหาพฤติกรรม ลดผลของความพิการ
- คุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถแก้ไขปัญหาและทำงานได้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์
เน้นการดูแล แบบองค์รวม ทุกคนต้องมีส่วนร่วม ทั้งเพื่อน ครู ผู้ปกครอง และเเพทย์
- เพื่อสามารถให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
- ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับบุคคลปกติมากที่สุด
- เน้นการดูแลแบบองค์รวม ( Holistic Approach )
แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.ด้านสุขภาอนามัย
- แนะนำบิดามารดาให้พาบุตรไปพบเเพทย์ตั้งเเต่เริ่มเเรก
- ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ เพื่อแพทย์จะได้ให้การรักษา และให้คำเเนะนำต่างๆ เช่น การให้คำเเนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์ การวางแผนครอบครัว ความเสี่ยงในการเกิดซ้ำของโรคในครอบครัวและการวินิจฉัยก่อนคลอด
2.การส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กกลุมอาการดาว์นซินโดรมสามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
- แนะนำบิดามารดา เรื่องความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการ วิธีการฝึกฝนบุตรที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อให้มีพัฒนาการใกล้เคียงกับเด็กทั่วไป
3.การดำรงชีวิตประจำวัน
- ฝึกให้ช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด เพื่อให้สามารถไปเรียนและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
- รู้จักควบคุมตนเอง มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
- ปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคมและสามารถใช้บริการต่างๆในสังคมได้
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยการจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล
( Individualized Education Program : IEP )
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน การจดทะเบียนรับรองความพิการ
- การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
การปฎิบัติของบิดามารดา
- ยอมรับความจริง
- เด็กดาว์นซินโดรมมีพัฒนาการเป็นขั้นตอน เช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
- ให้ความรักและความอบอุ่น
- การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
- การคุมกำเนิดและการทำหมัน
- การสอนเพศศึกษา
- ตรวจโรคหัวใจ ลิ้นหัวใจรั่ว ตรวจตั้งเเต่คลอดจะดี
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทดาว์นซินโดรม
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทดาว์นซินโดรม
Autistic
แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.ส่งเสริมความเข้มเเข็งครอบครัว
- ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการช่วยเหลือดูแล
- ไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ของทุกคน
- เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับออทิสติก
- ทักษะต่้างๆของเด็กจะสั่งสมตามประสบการณ์
- ไม่ต้องกังวลว่าเด็กจะทำไม่ได้หรือทำได้ไม่ดี
- ค่อยๆพัฒนาวิธีการตามคำชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญ
2.ส่งเสริมความสามารถเด็ก
- ไม่มุ่งแก้ไขเฉพาะความบกพร่องเพียงด้านเดียว
- มุ่งส่งเสริมความสามารถที่เด็กมีควบคู่ไปด้วย
- เปิดโอกาสให้เด็กได้ทำบ่อยๆ แล้วสอนเพิ่มในเรื่องที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่ตนเองทำได้
- เสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย
- ได้ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
- ของเล่นเปลี่ยนบ่อยๆ
3.พฤติกรรมบำบัด
- ส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมให้คงอยู่ต่อไป
- หยุดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
- สร้างพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการ
- ช่วยเสริมสร้างทักษะด้านภาษา ด้านสังคม และทักษะอื่นๆ
- ใช้พื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้
- การให้เเรงเสริม
4.การส่งเสริมพัฒนาการ
- ยึดหลักและลำดับขั้นพัฒนาการของเด็กปกติ
- ควรทำตั้งเเต่อายุน้อย โดยต้องทำอย่างเข้มข้น สม่ำเสมอ และต่อเนื่องในระยะเวลาที่นานพอ
- เหมาะสมตามสภาพปัญหา ความสามารถ และความเร็วในการเรียนรู้ของเเต่ละคนที่มีความเเตกต่างกัน
- เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา การมีสมาธิ การฟัง และทำตามคำสั่ง
5.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
- การแก้ไขการพูด
- การสื่อความหมายทดแทน
- กิจกรรมบำบัด
6.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
- เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด
- เกิดผลดีในระยะยาว
- เน้นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เด็กสามารถใช้ในชีวิตประจำวันจริงๆแทนการฝึกทักษะทางวิชาการ
- แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
- โรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะทาง โรงเรียนเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน
7.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
- การฝึกฝนทักษะในชีวิตประจำวัน
- การฝึกฝนทักษะทางสังคม
- การสอนเรื่องราวทางสังคม
8.การรักษาด้วยยา
- เพื่อบรรเทาอาการบางอย่างที่เกิดขึ้นด้วย
- เด็กไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยยาทุกคน
- ในปัจจุบันยังไม่พบว่ามียาตัวใดที่ช่วยแก้ไขความบกพร่องด้านการสื่อสารและสังคม
- เพื่อลดพฤติกรรมไม่มีสมาธิ อยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันเเล่น
9.การบำบัดทางเลือก
- การสื่อความหมายทดแทน ( AAC )
- ศิลปกรรมบำบัด (Art Therapy )
- ดนตรีบำบัด ( Music Therapy )
- การฝังเข็ม ( Acupuncture )
- การบำบัดด้วยสัตว์ ( Animal Therapy )
การสื่อความหมายทดแทน
- การรับรู้ผ่านการมอง
- โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร
- เครื่องโอภา
- โปรแกรมปราศรัย
10.บทบาทความคิดของพ่อแม่
- ลูกต้องพัฒนาได้
- เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
- ถ้าเราไม่รัก แล้วใครจะรัก
- หยุดไม่ได้
- ดูแลจิตใจร่างกายตนเองให้เข้มเเข็ง
- ไม่กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส
- ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทออทิสติก
ที่มีความต้องการพิเศษประเภทออทิสติก
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนตัวเอง 100 คะเเนน เพราะตั้งใจเรียน ตั้งใจจดงาน และตั้งใจฟังเวลาอาจาร์ยสอน แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะแนนเพื่อน 100 คะเเนนเพราะตั้งใจเรียน
เชื่อฟังอาจารย์ และเเต่งกายถูกระเบียบทุกคน โต้ตอบ มีซักถามอาจาร์ยในเรื่องที่สงสัย
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนอาจาร์ย 100 คะเเนน
เพราะอาจาร์ยมาสอนตรงเวลา และเเต่งกายเรียบร้อย
ฺ
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนตัวเอง 100 คะเเนน เพราะตั้งใจเรียน ตั้งใจจดงาน และตั้งใจฟังเวลาอาจาร์ยสอน แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะแนนเพื่อน 100 คะเเนนเพราะตั้งใจเรียน
เชื่อฟังอาจารย์ และเเต่งกายถูกระเบียบทุกคน โต้ตอบ มีซักถามอาจาร์ยในเรื่องที่สงสัย
เชื่อฟังอาจารย์ และเเต่งกายถูกระเบียบทุกคน โต้ตอบ มีซักถามอาจาร์ยในเรื่องที่สงสัย
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนอาจาร์ย 100 คะเเนน
เพราะอาจาร์ยมาสอนตรงเวลา และเเต่งกายเรียบร้อย
ฺ
เพราะอาจาร์ยมาสอนตรงเวลา และเเต่งกายเรียบร้อย
ฺ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น